หลักคิด/ความเป็นมา/สถานการณ์ที่เกิดขึ้น


ตำบลดอยงาม
มีกลุ่มอาชีพที่หลากหลายแต่สิ้นค้าชุมชนมีราคาถูก
มีการเรียนแบบกันทำ
แต่ไม่มีกำไร ไม่มีเการออกแบบใหม่
ๆ รวมทั้งหากมีการผลิตที่ดีขึ้นทำสวย
ราคาแพง กลับขายยาก
แต่ชาวบ้านต้องกินทุกวัน เช่น
กรณีกลุ่มเย็บพรมเช็ดเท้า ผ้าเศษก็ราคาแพงขึ้น แต่ราคาขายสินค้าเท่าเดิมเท่าเดิม มีคนรับซื้อแต่ถูกกดราคา และต้องซื้ออุปกรณ์ทุกอย่างจากผู้รับซื้อ ไม่คุ้มค่า
รวมถึงผลกระทบเรื่องสุขภาพ ฝุ่นผ้า
จากการผลิตพรมเช็ดเท้า
ด้านสุขภาพ คนในพื้นที่ตำบลดอยงามเป็นโรค ความดัน
เบาหวาน มะเร็งมากขึ้น เนื่องจากการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม อาทิ สุขภาพของคนในพื้นที่มีสารตกค้างในร่างกายในคน ๑๐๐ คน ผ่านแค่ ๒ คน อีก ๙๘ คนมีการตรวจสารพิษเคมีในเลือด
จากสถานการณ์ต่าง
ๆ พบว่า รายจ่ายของคนในตำบลดอยงามส่วนใหญ่มากกว่ารายรับ เนื่องจากปัจจุบันมีช่องทางการจ่ายที่มากขึ้น
อาทิ ค่านิยมในการซื้อบริโภคทุกอย่าง
แทนการห่อข้าวการศึกษาของบุตรหลานค่าโทรศัพท์ ค่าอินเตอร์เน็ต ค่าหวยค่าไฟฟ้า ค่าน้ำ
ค่าแก๊ส ภาษีสังคมอีกทั้งของอำนวยความสะดวกก็มากขึ้นส่งผลให้เกิดหนี้ค่าใช้จ่ายในครอบครัว
การดำเนินการตามแผนงาน/กิจกรรมโครงการทุกกิจกรรม และมีการเชื่อมโยงกับการพัฒนาด้านต่าง ๆ ดังนี้
การดำเนินการตามแผนงาน/กิจกรรมโครงการทุกกิจกรรม และมีการเชื่อมโยงกับการพัฒนาด้านต่าง ๆ ดังนี้
- การรเชื่อมโยงกับกรมการข้าวจังหวัดเชียงรายในการทำเมล็ดพันธ์ข้าวการทำแปลงสาธิตการทำแปลงเกษตรการทำแปลงขยายพันธุ์
- การเชื่อมโยงกับโครงการแผนดินธรรมแผ่นดินทองในการส่งเสริมเรื่องการบริโภคอาหารปลอดภัย / การอนุรักษ์ข้าวพันธุ์พื้นบ้าน
- การเชื่อมโยงกับโครงการวิถีสุขภาพในการส่งเสริมการเลี้ยงเป็ดเลี้ยงไก่ทุกครัวเรือน
- การเชื่อมโยงกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในการให้มีความรู้เรื่องการบริโภคอาหารการรณรงค์ในการบริโภคอาหารที่มีความเสียงต่อสุขภาพลด ละ เลิก การใส่รสดี การส่งเสริมการทำขนมพื้นบ้าน และ อาหารตามฤดูกาล
- การเชื่อมโยงกับเกษตรจังหวัด และกรมพัฒนาที่ดินจังหวัด ในการส่งเสริมเรื่องการทำปุ๋ยการตั้งกลุ่มปุ๋ยหมัก เพื่อลดต้นทุนและลดการใช้สารเคมี การทำฮอร์โมน ยาไร้แมลง (เปลือกสับประรด)
- การเชื่อมโยงกับกรมวิชาการการเกษตร ในการเก็บข้อมูลเรื่องการปลูกข้าว (๕ จุด)
- การเชื่อมโยงกับอบต. เพื่อขอรับการสนับสนุนเรื่องทุนหมุนเวียนเพื่อการประกอบอาชีพ ๕ ปี ไม่มีดอกเบี้ย หมู่บ้านละ ๑ แสนบาท ผ่านกระบวนการประชาคมหมู่บ้าน
- การนำแผนสู่การปฏิบัติ
- การทำเมล็ดพันธุ์ข้าว ๕๕ แปลงนำร่อง / ขยายผล ๑๐ ครอบครัว
- การเก็บข้อมูลเรื่องต้นทุนการผลิต (เลี้ยงเป็ด เลี้ยงไก่)
- การเก็บข้อมูลเรื่องต้นทุนการผลิต (ข้าว)
- การตั้งกลุ่มในการผลิตข้าว และ การทำสัญญาที่ชัดเจน
- การเชื่อมโยงการทำงาน ตรวจดิน การทำวิจัย การทำข้อมูล
- คนในชุมชนมีความรู้เรื่องการใส่ปุ๋ย ๑ ไร่ ไม่เกิน ๒๕กก. ทำให้ผลผลิตมีมาก และ ต้นทุนน้อย
- การเชื่อมโยงเรื่องการปลูกถั่ว
- คนในชุมชนหันมาปลูกผักกินเองมากขึ้น
- คนในชุมชนหันมาเลี้ยงเป็ดเลี้ยงไก่ทุกครัวเรือน
- เกิดการทำงานกับหน่วยงานที่หลากหลาย

o
กรมการข้าวจังหวัดเชียงราย
o
โครงการแผนดินธรรมแผ่นดินทอง
o
โครงการวิถีสุขภาพ
o
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้มีความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร
o
เกษตรจังหวัด
ส่งเสริมเรื่องการทำปุ๋ย
o
กรมพัฒนาที่ดินจังหวัด ส่งเสริมเรื่องการทำปุ๋ย
o
กรมวิชาการการเกษตร เก็บข้อมูลเรื่องการปลูกข้าว
(ตำบลละ ๕ จุด)
o
อบต.
สนับสนุนเรื่องทุนหมุนเวียนเพื่อการประกอบอาชีพ
๕ ปี ไม่มีดอกเบี้ย หมู่บ้านละ ๑ แสนบาท ผ่านกระบวนการประชาคมหมู่บ้าน
เกิดการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อวางแผนการทำงานทำให้รู้ปัญหาและสาเหตุของปัญหา และเกิดแนวทางในการที่จะแก้ไขโดยการลดต้นทุน
o
ส่งเสริมิถีชุมชน อบรมเรื่องการกินผัก การปลูกผัก
o
การเชื่อมโยงการทำงานกับโรงเรียน